ศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร

ที่ปรึกษาคณะนิติศาสตร์ปรีดีพนมยงค์

 

การศึกษา

  • น.บ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • น.บ.ท. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
  • Doktor der Techte จาก มหาวิทยาลัยแห่งกรุงบอนน์ สหพันธ์สาธารณรัฐ- เยอรมนี พ.ศ. 2520

ประวัติการทำงาน

  • คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พ.ศ. 2544 - 2554
  • ประธานกรรมการบัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • กรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
  • กรรมการพัฒนากฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
  • กรรมการพิจารณาปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญา สำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนใน สถาบันอุดมศึกษา
  • อาจารย์พิเศษ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เริ่มปีการศึกษา 2520)
  • อาจารย์พิเศษ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เริ่มปีการศึกษา 2524)
  • อาจารย์ผู้บรรยาย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติ บัณฑิตยสภา (เริ่มปี การศึกษา 2528)
  • อาจารย์ประจำบัณฑิตศึกษา สาขานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (เริ่มปี การศึกษา 2542)

งานด้านการศึกษา

สอนกฎหมายอาญาและกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  • ชั้นปริญญาตรีและปริญญาโท  คณะนิติศาสตร์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2520
  • ชั้นปริญญาโท  คณะนิติศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ตั้งแต่ปีการศึกษา 2522
  • สำนักอบรมศึกษากฎหมาย  แห่งเนติบัณฑิตยสภา  ตั้งแต่ปีการศึกษา  2528

ผลงานทางวิชาการ

หนังสือที่เขียน

  • กฎหมายอาญาภาคทั่วไป พิมพ์ครั้งที่ 2 สำนักพิมพ์วิญญูชน พ.ศ. 2547
  • กฎหมายอาญาภาคความผิด พิมพ์ครั้งที่ 8 สำนักพิมพ์วิญญูชน พ.ศ. 2545
  • กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พิมพ์ครั้งที่ 6 สำนักพิมพ์วิญญูชน พ.ศ. 2546
  • ประมวลกฎหมายอาญา : หลักกฎหมายและพื้นฐานการเข้าใจ สำนักพิมพ์นิติธรรม, พิมพ์ครั้งที่ 7 เดือนธันวาคม 2546
  • ข้อกฎหมายในคดีนายกอานันท์  สำนักพิมพ์นิติธรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1 เดือนพฤษภาคม 2540
  • รัฐธรรมนูญกับกระบวนการยุติธรรม โรงพิมพ์เดือนตุลา, พิมพ์ครั้งที่ 1 เดือนธันวาคม 2544
  • เมื่ออดีตอัยการสูงสุดแพ้คดี  พิมพ์ครั้งที่ 1 โรงพิมพ์เดือนตุลา เดือนธันวาคม 2545

เกียรติคุณที่ได้รับ

  • ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์พิเศษในภาควิชากฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2535
  • ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็น ศาสตราจารย์พิเศษในสาขาวิชานิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 27 ธันวาคม 2539
  • ได้รับยกย่องให้เป็น บุคคลยุติธรรมแห่งปี 2539 จากชมรมหมอความยุติธรรม โดยได้รับโล่ห์รางวัลประกาศเกียรติคุณของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ประธานองคมนตรี
  • ได้รับการพิจารณาคัดเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ (สยช.) ให้เป็นบุคคลผู้ทำคุณประโยชน์ต่อเยาวชน สาขากฎหมาย เนื่องในวันเยาวชนแห่งชาติ ประจำปี 2539
  • ได้รับพระราชทานปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2540

ตำแหน่งหน้าที่สำคัญในอดีต

  • อัยการสูงสุด
  • สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540

เครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงสุดที่ได้รับ

  • 5 ธันวาคม 2510 จตุรถาภรณ์มงกุฎไทย จ.ม.
  • 5 ธันวาคม 2512 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย ต.ม.
  • 5 ธันวาคม 2516 ตริตาภรณ์ช้างเผือก ต.ช.
  • 5 ธันวาคม 2520 ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย ท.ม.
  • 5 ธันวาคม 2525 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก ท.ช.
  • 5 ธันวาคม 2528 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย ป.ม.
  • 5 ธันวาคม 2531 เหรียญจักรพรรดิมาลา ร.จ.พ. และประถมาภรณ์ช้างเผือก ป.ช.
  • 5 ธันวาคม 2534 มหาวชิรมงกุฎ ม.ว.ม.
  • 5 ธันวาคม 2537 มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก ม.ป.ช.

ประวัติการรับราชการ ณ กรมอัยการ/สำนักงานอัยการสูงสุด

  • มิถุนายน 2506 พฤษภาคม 2507 อัยการผู้ช่วยกองคดี
  • พฤษภาคม 2507 กุมภาพันธ์ 2511 อัยการผู้ช่วยจังหวัดภูเก็ต
  • กุมภาพันธ์ 2511 กันยายน 2511 อัยการผู้ช่วยจังหวัดชุมพร
  • ตุลาคม 2511 มีนาคม 2520 ศึกษาต่อ ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน โดยทุนรัฐบาลตามความต้องการของกรมอัยการ
  • เมษายน 2520 กันยายน 2527 อัยการประจำกรม และอัยการพิเศษประจำกรมกองวิชาการ
  • ตุลาคม 2525 กันยายน 2527 อัยการพิเศษประจำกรม ปฏิบัติราชการในหน้าที่หัวหน้าพนักงานอัยการ กองฝึกอบรม กองวิชาการ
  • ตุลาคม 2527 ตุลาคม 2531 อัยการพิเศษประจำกรม กองที่ปรึกษาปฏิบัติราชการในหน้าที่รองอัยการพิเศษฝ่ายปรึกษา
  • พฤศจิกายน 2531 กันยายน 2533 อัยการพิเศษฝ่ายคดีแรงงาน
  • ตุลาคม 2533 กุมภาพันธ์ 2534 รองอธิบดีกรมอัยการ
  • มีนาคม 2534 กันยายน 2537 รองอัยการสูงสุด
  • ตุลาคม 2537 กันยายน 2540 อัยการสูงสุ