รองศาสตราจารย์อัจฉรียา ชูตินันทน์

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

ตรวจสอบรายชื่อนักศึกษาปริญญาโทและปริญญาเอกที่สอบเปิดเล่มแล้ว

 

การศึกษา

  • น.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • น.ม. (กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา)
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ประกาศนียบัตรหลักสูตรธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
    (Modern Real Estate Business) คณะพานิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานวิชาการ

  • อาชญาวิทยาและทัณวิทยา ได้รับทุนมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พ.ศ.๒๕๖๐
  • อาชญาวิทยาและทัณวิทยา พิมพ์ครั้งที่ ๒ แก้ไขเพิ่มเติม กรุงเทพ:วิญญูชน ๒๕๕๗
  • กฎหมายอาญาภาคความผิด พิมพ์ครั้งที่ 5 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๖ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • กฎหมายเกี่ยวกับคดีเด็ก เยาวชน เเละครอบครัว พิมพ์ครั้งที่๓ แก้ไขเพิ่มเติม กรุงเทพฯ:วิญญูชน ๒๕๕๒

ตำรา

งานวิจัยเดี่ยว

  • กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์โดยวิธีการประชุมกลุ่มครอบครัว เเละชุมชนเพื่อหันเหคดีเด็ก เเละเยาวชน โดยไม่ต้องขึ้นสู่ศาลเยาวชนเเละครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๑ (ได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัยจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์)
  • การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาจากการสอนโดยใช้การสอนที่หลายรูปแบบในวิชากฎหมายเกี่ยวกับคดีเด็ก เยาวชน เเละครอบครัว คณะนิติศาสตร์ปรีดีพนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

งานวิจัยร่วมกับคณะ

  • การติดตามและประเมินผลการบังคับใช้พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติมผ่านเครื่องมือการประเมินผล การบังคับใช้กฎหมาย (คณะผู้วิจัยได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิลัยจากสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๖๑)
  • การยอมรับและการบังคับตามคำชี้ขาดทางการค้าพาณิชย์ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน (คณะผู้วิจัยได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐)
  • ศึกษาและวิเคราะห์การบังคับใช้กฎหมายเทคโนโลยีช่วยการเจริญพ์นธ์ (คณะผู้วิจัยได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัยจากมหาวิทยาลัยธุรกิจลัณฑิตย์ พ.ศ. ๒๕๕๙)
  • สถานการณ์ปัญหาและพัฒนารูปแบบแนวทางของกฎหมายบังคับโทษจำคุกในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๔(คณะผู้วิจัยได้รับทุนการสนับสนุนจากสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
  • อำนาจรัฐในการควบคุมตัวบุคคลตามกฎหมายลักษณะพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๒(คณะผู้วิจัยได้รับทุนการสนับสนุนจากสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม)
  • โครงการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการไต่สวนมูลฟ้องในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๕๑ (คณะผู้วิจัยได้รับทุนการสนับสนุนจากสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม)
  • โครงการติดตามประเมินผล เเละพัฒนารูปแบบ เเละเเนวทางการลดปริมาณคดีขึ้นสู่ศาล พ.ศ. ๒๕๕๐(คณะผู้วิจัยได้รับทุนการสนับสนุนจากสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม)
  • โครงการติดตามประเมินผลเเละพัฒนารูปแบบเเละเเนวทางการลดปริมาณคดีขึ้นสู่ศาล พ.ศ. ๒๕๔๙ (คณะผู้วิจัยได้รับทุนการสนับสนุนจากสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม) โครงการวิจัยจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ )

บทความ

  • ศึกษาและวิเคราะห์การบังคับใช้กฎหมายเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธ์
  • พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๓วารสารกฎหมายธุรกิจบัณฑิตย์ ปีที่ ๑ มิถุนายน-สิงหาคม ฉบับที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕
  • การปฏิเสธการรักษาของผู้ป่วยในวาระสุดท้ายเพื่อจะตายอย่างมีศักดิ์ศรีกับความรับผิดทางอาญาของเเพทย์ วารสารกฎหมายธุรกิจบัณฑิตย์ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕
  • การคุ้มครองสิทธิของผู้ป่วยกับการกระทำของแพทย์ ในการตรวจสภาวะติดเชื้อไวรัสเอชไอวีจากเลือดของผู้ป่วย จุลสารคณะนิติศาสตร์ ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๐

งานตำราตีพิมพ์

  • อาชญาวิทยาเเละทัณฑวิทยา พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ : วิญญูชน 2563

งานวิจัย

  • งานวิจัย เรื่องการติดตามและประเมินผลการบังคับใช้พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2554 และที่แก้ไขเพิ่มเติมผ่านเครื่องมือการประเมินผลการบังคับใช้กฎหมาย คณะผู้วิจัยได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัยจากสำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2561
  • งานวิจัย เรื่องการยอมรับและการบังคับตามคำชี้ขาดทางการค้าพาณิชย์ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน คณะผู้วิจัยได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2561

บทความวิชาการ

  • หลักการกำหนดความผิดอาญาและหลักการกำหนดโทษอาญาในการตรากฎหมาย วารสารสุทธิปริทัศน์ ปีที่35 ฉบับที่3 กรกฎาคม – กันยายน 2564. . THE PRINCIPLE OF DEFINING CRIMINAL OFFENSE AND PRINCIPLES OF DEFINING CRIMINAL PENLTY IN ENACTING LAWS SUTHIPARITHAT JOURNAL VOL. 35 NO. 3 July - September 2021)
  • เหตุผลในการบัญญัติความผิดฐานเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้กับลักษณะของการกระทำที่เป็นการเพิ่มการก่ออันตรายให้เกิดความตายหรืออันตรายสาหัส. วารสารสุทธิปริทัศน์ ปีที่33 ฉบับที่108 ตุลาคมคม – ธันวาคม 2562. (JURISTIC MEDTHOD INTERNATIONAL OF THAI CRIMINAL. SUTHIPARITHAT JOURNAL VOL. 33 NO. 108 October - November 2019)
  • การดำเนินกระบวนการพิจารณาดีของศาลเยาวชนและครอบครัวกรณีที่เด็กและเยาวชนกระทำความผิดอาญาร้ายแรงตามกฎหมายของประเทศไทย วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ฉบับพิเศษ เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2562.
  • นิติวิธีการตีความกฎหมายอาญาของประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์ ปีที่33 ฉบับที่107 กรกฎาคม - กันยายน 2562. (JURISTIC MEDTHOD OF INTERNATIONAL OF THAI CRIMINAL SUTHIPARITHAT JOURNAL VOL33 NO.107 July-September 2019)
  • Determining the offense of indecent act to be a state criminal offense .PSYCHOLOGY AND EDUCATION (2021) 58(4), ISSN 1553 - 6939 Article Received: 22th November, 2020; Article Revised: 26th March, 2021; Article Accepted: 26th April, 2021 (Scopus Psychology and Education Q4)
  • การกำหนดเหตุฉกรรจ์เกี่ยวกับการกระทำที่ใช้วิธีการที่ร้ายแรงและเป็นอันตรายกว่าการทำร้ายร่างกายผู้อื่นกรณีธรรมดาให้ต้องระวางโทษหนักขึ้น วารสารสุทธิปริทัศน์ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม 2564. (GRAVITY ON OFFENSE OF ASSAULT THAT USES A METHOD THAT IS MORE SERIOUS AND MORE DANGEROUS THAN OFFENSE OF ASSAULT IN ORDINARY ON HEAVIER PUNISHMENT. SUTHIPARITHAT JOURNAL VOL 35 NO.1 January – March 2021)
  • การยอมรับและการบังคับตามคำชี้ขาดทางการค้าพาณิชย์ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน. วารสารสุทธิปริทัศน์ ปีที่ 34 ฉบับที่ 109 มกราคม – มีนาคม 2563. (ACCEPTANCE AND ENFORCEMENT OF INTERNATIONAL TRIBUNAL VERDICT WITHIN. SUTHIPARITHAT JOURNAL VOL 34 NO.109 January – March 2020)
  • ศึกษาและวิเคราะห์การบังคับใช้กฎหมายเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธ์:กรณีชายหญิงอยู่กินกันฉันสามีภรรยา. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้ ปีที่12 ฉบับที่1 มาราคม – มิถุนายน 2562.

งานสอน

ระดับปริญญาตรี หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต

  • วิชากฎหมายอาญา1:ภาคทั่วไป
  • วิชากฎหมายอาญา1:ภาคความผิด
  • วิชาสัมมนากฎหมายอาญา
  • วิชากฎหมายเกี่ยวกับคดีเด็กและเยาวชนและคดีครอบครัว
  • วิชาพระธรรมนูญสาลยุติธรรม
  • วิชาอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา
  • วิชากฎหมายธุรกิจ

ระดับปริญญาตรี หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคบัณฑิต)

  • วิชากฎหมายอาญา1:ภาคทั่วไป
  • วิชากฎหมายอาญา1:ภาคความผิด
  • วิชากฎหมายเกี่ยวกับคดีเด็กและเยาวชนและคดีครอบครัว
  • วิชาพระธรรมนูญสาลยุติธรรม

 

ระดับปริญญาโท หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต

  • วิชาทฤษฎีและหลักกฎหมายอาญา
  • วิชาปัญหาชั้นสูงในกฎหมายอาญา
  • วิชาอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาชั้นสูง
  • วิชากฎหมายอาญาเปรียบเทียบ
  • วิชาบัณฑิตสัมมนา